Appendix

บรรณานุกรม

[1] Mitch Allen, Przemyslaw Prusinkiewicz, and Theodore DeJong. Using L-systems for modeling source-sink interactions, architecture and physiology of growing trees: the L-PEACH model. New Phytologist 166, pp. 869-880.


[2] Available http://algorithmicbotany.org/papers/


[3] L-systems were introduced and developed in 1968 by the Hungarian theoretical biologist and botanist from the University of Utrecht, Aristid Lindenmayer (1925-1989).


[4] Available http://www.jatrophaworld.org/15.html


[5] ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดชัยนาท หมู่ 4 .เขาท่าพระ อ.เมือง จ.ชัยนาท 17000. (http://aopdm01.doae.go.th/data/physicnut21.htm)


[6] ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก.(http://aopdm02.doae.go.th/black%20oil%201.htm)


[7] ศิษฏพงษ์ รัตนกิจ. 2548. สบู่ดำ. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 14 มิถุนายน 2548. 4 หน้า.


[8] นิรนาม. 2548. ส่วนส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กทม. 10900.


[9] นิรนาม. 2548 เอกสารประกอบการสัมมนาระดมความคิด เรื่อง พืชพลังงานที่มีศักยภาพ หน้า 116-129 เรื่องสบู่ดำ โดย รศ. ดร. สมบัติ ชิณะวงศ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2548.


[10] นิรนาม. 2548. เอกสารประกอบการประชุม การสร้างเครือข่ายผู้ปลูก ผู้ค้า และนักวิชาการเพื่อการพัฒนาพืชน้ำมันสบู่ดำอย่างยั่งยืน โดย สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติร่วมกับสภาอุสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 25 เมษายน 2548.


[11] Joachim Heller. 1996. Physic nut, IPGRI, Rome, Italy. 66 pp.


[12] Satish Lele. 2005. The Cultivation of Jatropha curcas. http//www.svlele.com/jatropha_plant.htm


[13] Anon. 2005. Economic of Jatropha Cultivation, http://www.jatrophaworld.org/15.html


[14] วิทยานิพนธ์ ของ คุณสมพร ช่วยอารีย์ ได้ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่อง An algorithm for simulation and visualization of plant shoots growth, ขั้นตอนวิธีสำหรับการจำลองและการสร้างภาพนามธรรมของการเจริญเติบโตของลำต้นพืช นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543


[15] วิทยานิพนธ์ของ Hanan, J. เรื่อง Virtual Plants Integrating architectural and physiological plant models, The Modeling and Simulation Society of Australia, Proceedings of ModSim 95, 1:44-50, 1995


[16] วิทยานิพนธ์เรื่อง Animation of L-system based 3-D Plant Growing in Java Tong Linของ David S. Ebert (Advisor), Assistant Professor of Computer Science Charles Abzug (Reader), Instructor in Computer Science http://www.csee.umbc.edu/~ebert/693/TLin/


[17] วิทยานิพนธ์เรื่อง Interactive Modeling of Plants ของ Lintermann, B and Deussen, O., IEEE Computer Graphics and Applications, 19(1): 56-65, January 1999


[18] Available http://en.wikipedia.org/wiki/L-system

Author’s Profile



Curriculum Vitae



Personal Information:

N

ame : Ruantip Kampech

Nickname : Tip
Place of birth : Thailand
Date of birth:December 15th,1982
Marital Status : Single
Nationality : Thai
Address : 66/1 M 1 Lahan Bangboathong,Nonthaburi 11110



Cell. : (66) 86 6676 445

Tel. : (66) 2 5710 296

Email: Rokeeyah@gmail.com

Web. : Ruantip's Blog

Education:

  • School Education:

** 1997 – 2000

High School Certificate - Mathematical Arts.

Nawamintarachinutit Howang Nonthaburi

  • University Education:

** 2000 – 2003

Major is Business computer.

Faculty of Informatics.

Minor: Service Industry

Sripatum University.

3.22 Major GPA.



Work Experience:

  • May - December, (2000): committee in the Muslim Club.

  • January 11-18, (2003): receptionist in the Thai University Games (Sripatum Games 2003).

  • August - December, (2003): a teaching assistant in the computer class.

  • January 8 - 12, (2004): Assistant Presentation Performance Project in The Exhibition Click@SPU Central Plaza at Chiang Mai.

  • January 23, (2004) - August, (2005): Managing Director’s secretary at Thai Optical Group Public Company Limited.

  • October 28, (2005): Speaker in the short talk of “International Education Fair 2004” at Sripatum University Bangkhen Campus.

  • September 6, (2005): I was participated in seminar related Business & Technology Symposium by IBM Company at Inter Continental Bangkok

  • February 3, (2006): I was visited to new technology at Suvarnnbhumi Airport

  • August, (2005) - Present: International Account Executive; USA &Western Europe Region at Thai Optical Company Limited.



Other Work Experience:

Computer Literacy:



  • Software Packages:

Microsoft Word, Excel, Power Point, Outlook, Skype, SAP, Module MM (Material Management) and Module SD (Sales and Distribution), Fine Print, Able Fax Tif View, E-fax, Microsoft Project, Microsoft Visio.



  • Programming Languages:

Good at using a computer, Program Flash mx, Adobe Photoshop 7.0, Editplus, Swish , DHTMLMenu3.7, The VR worx, SWiSH v2.0, Adobe Premiere 6.0, Anfy Java 1.4.5, Apple.Quicktime.Pro.v6.0.2., Animagic GIF Animator 1.4, CoffeeCup Firestarter 6.0 , DreamWeaverMX, Javascript, ASP and programming Graphics Operating Systems: Microsoft Windows 98/2000, XP professional SP2.



Typing speed of 45 words per minute in English and

40 words per minute in Thai.



Training Courses

  • June 16 - October 12, (2004): a trainee in the Informatics Faculty of The CEFET’s Bambui at Brazil.

  • June 9 - July18, (2003): a trainee in the technical department of the Thai Airways International Public Company Limited.



Languages

Read, write, and speak the following languages good:

  • Thailand: (Mother Language).

  • English: Excellent command of written, read and spoken.

  • Arabic: Basic Knowledge.

  • Portuguese: Good command of written and spoken.



Hobbies

Sport (badminton and swimming), Internet learning and developing multimedia.



References

  • Mr. Chatchai Ugsornsilp Director, International Relations Office

Sripatum University Bangkhen Campus 61 Phahonyotin RD., Jatujak

Bangkok 10900 Thailand

Tel. 662-579-1111, 662-561-2222 Ext. # 1198, Mobile. 081-804-0325

E- mail: chatchai@spu.ac.th

  • Miss Parinya Bannapasat Lecturer Faculty of Informatics

Sripatum University Bangkhen Campus 61 Phahonyotin RD., Jatujak

Bangkok 10900 Thailand

Tel. 662-579-9120, 662-561-1036 Ext. # 2211, Mobile. 086-790-2168

E-mail: Parinyab@spu.ac.th

  • Mr. Choompote J. Tiranasar M.S.I.E Factory Manager

83 Moo 2, Ngarmvongvarn Rd., Bangkhen, Muang District,

Nonthaburi 11000 Thailand

Tel. +1-614-497-0300 Mobile: +1-61-4596-4005

E-mail: choompote@thaiopticalgroup.com , choomve@yahoo.com, choomve@exceliteinc.com



66/1 M 1 Lahan Bangboathong, Nonthaburi 11110

บทที่ 1

บทนำ


    1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา


พลังงาน เป็นสิ่งสำคัญต่อการอุปโภค หรืออาจจะเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้สังคมมนุษย์ มีความสะดวกสบายได้จากการใช้พลังงาน เพื่อขับขี่เครื่องยนต์ เครื่องจักร โดยพลังงานมีหลายชนิด เช่น พลังงานจากน้ำ พลังงานไฟฟ้า พลังงานจากน้ำมัน เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบัน เราจะเห็นได้ว่าราคาน้ำมันได้มีการปรับราคาสูงขึ้น การวิจัยเพื่อหาพลังงานทดแทน เพื่อให้ได้พลังงานที่ราคาถูกและใช้งานได้เทียบเท่าจึงเป็นสิ่งจำเป็น ปัจจุบันได้มีการพัฒนาการกลั่นน้ำมันจากต้นปาล์ม และสบู่ดำ แต่เทคโนโลยี ปัจจุบันยังทำให้การผลิตมีต้นทุนสูง ดังนั้น หากเราสามารถหาแนวทางที่มำให้มีผลผลิตสูงขึ้น อาจทำให้การลงทุนมีความคุ้มค่า


ด้วยเหตุนี้ เราจึงสนใจปัญหาที่อาจนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตของพืชสบู่ดำนี้ขึ้น สบู่ดำมีชื่อว่า Jatropha Curcas Linn. ชื่อในภาษาอังกฤษว่า Jatropha หรือ Physic Nut เป็นพืชที่สามารถนำมาสกัดเป็นน้ำมันดีเซล และยังมีสรรพคุณทางด้านอื่นๆอีก เช่น ใช้ก้านใบในการรักษาโรคปากเปื่อย ปากนกกระจอก กิ่งใบของต้นสบู่ดำ เป็นสมุนไพร และ เชื้อเพลิง รวมทั้งนำไปผลิตเป็นกระดาษอัด เปลือกลำต้นนำมาทำเป็นสีย้อมผ้าและด้าย เป็นต้น


    1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย


เพื่อสร้างแบบจำลองการเจริญเติบโตของต้นสบู่ดำ ที่พิจารณาจากปริมาณการให้น้ำและปุ๋ยที่ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตที่ดีที่สุด


    1. ขอบเขตของการวิจัย

ข้อมูลที่นำมาใช้พิจารณาแบบจำลองเป็นข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ในการถางเป็นต้นเดี่ยว และพิจารณาสิ่งแวดล้อมเฉพาะปริมาณน้ำและปุ๋ยที่พืชได้รับ โดยเก็บข้อมูลจากการปลูกอย่างน้อย 3 ครั้งในแต่ละ 1 กรณี


    1. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

แบบจำลองที่ได้จะสามารถนำไปใช้ทำนายผลผลิตเบื้องต้น ในสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกับแบบทดลอง และมีการปรับปริมาณน้ำและปุ๋ย




-------------------------------------------------------------------------



บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

รูปที่ 2.1 เป็นการแสดงขั้นตอนของ Visualization

ที่มา Fig. 1. The visualization pipeline along with client-sever scenarios. (IEEE transactions on visualization and computer graphics, Vol. 6 No. 1, January – March 2000 page 9)

    1. ทฤษฎีตัวแบบทางคณิตศาสตร์โครงข่ายประสาทเทียม (Neural Networks)

เป็นทฤษฎีที่ใช้โครงข่ายแบบเคลื่อนที่ไปข้างหน้า Feedforward neural network (FNNs) ข้อมูลที่ประมวลผลในวงจรข่ายจะถูกส่งไปในทิศทางเดียวจาก Input nodes ส่งต่อมาเรื่อย ๆ จนถึง output nodes โดยไม่มีการย้อนกลับของข้อมูล หรือแม้แต่ Nodes ใน layer เดียวกันก็ไม่มีการเชื่อมต่อกัน นำมาช่วยในการสร้างตัวแบบจำลองการเติบโตของต้นสบู่ดำซึ่งจะให้ได้ผลการทำนายการเจริญเติบโตที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมาก


รูปที่ 2.2 รูปแสดง Model ของ Neuron ในคอมพิวเตอร์


รูปที่ 2.3 รูปเป็นการแสดงสถาปัตยกรรมของ Feedforward network


    1. เทคโนโลยี Plant VR

โปรแกรมการจำลองการเติบโตของต้นไม้ มันถูกพัฒนามาจาก Lindenmayer System
(L-Systems)
เป็นวิธีเขียนซ้ำสามารถทำงานบน Windows 95/98/NT โดยผู้ใช้ สามารถสังเกตการเติบโตของต้นไม้ในมุมมอง 3 มิติ L- Systems ได้ถูกนำมาใช้ เพื่อออกแบบรูปทรงลักษณะเฉพาะ จะประกอบด้วย axiom และ rules การพัฒนาตัวแบบต้นไม้ถูกควบคุมโดยฟังก์ชันของคณิตศาสตร์ ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้นไม้ เจริญเติบโตของ วงจรชีวิต โปรแกรมนี้สามารถนำไฟล์ออกมาใช้ในการทำแอนิเมชัน รูปแบบไฟล์เป็นนามสกุล gif และสร้างการพัฒนาการของต้นไม้ เทคนิคของ Visualization ทำให้ต้นพืชที่ได้มีความเสมือนจริงยิ่งขึ้น


รูปที่ 2.4 การพัฒนาของการเจริญเติบโตของต้นไม้ที่เริ่มมีดอกจนถึงได้ผลผลิตสุก


    1. เทคโนโลยี L – systems

เทคโนโลยี L- System เป็นFormal Grammar การตั้งค่าของกฎและสัญลักษณ์ ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ตัวแบบกระบวนการพัฒนาการเจริญเติบโตของต้นไม้ตลอดจนสามารถทำตัวต้นแบบเป็นโครงสร้างและรูปแบบของสิ่งมีชีวิตได้หลายประเภท L-system ยังสามารถให้เกิดความเหมือนตัวในมันเองที่เป็นส่วนเล็กๆ เช่น ระบบฟังก์ชันการทำซ้ำ โครงสร้างของอัลกอริทึมที่ถูกแนะนำเป็นตัวต้นแบบ ที่สามารถเป็นตัวแบบในการพัฒนาสิ่งมีชีวิต หลายๆเซลล์อย่างง่าย ในช่วงของการเจริญเติบโต และ การตาย ของเซลล์ที่มีลักษณะเฉพาะ


รูปที่ 2.5 รูปแสดงโมดูลที่ดีเยี่ยม และ กลุ่มของโมดูล (ที่ล้อมรอบด้วยเส้นประ) ใช้บรรยายต้นไม้

ที่มาจาก The original version of this apper appeared in M.T. Michalewicz (Ed.): Plants to Ecosystems. Advances in Computational Life Sciences, CSIRO, Collingwood, Australia 1997, pp. 1-27

รูปที่ 2.6 การพัฒนาตัวต้นแบบ ของใบเลี้ยงคู่ ถูกทำเป็นตัวแบบเท่ากับรูปร่างของ ส่วนยอด
และระหว่างโหนด


    1. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การพัฒนาวิธีการศึกษาด้วยตนเอง อาจจะมีการพัฒนาจากหลายรูปแบบ โดยมีงานวิจัยจากนักศึกษาระดับปริญญาโทของมหาวิทยาลัยต่างๆ ซึ่งเป็นตัวอย่างและเป็นแนวทางด้านความคิด ให้เกิดแรงผลักดันในการทำการวิจัยแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างน้ำและปุ๋ยที่มีผลต่อจำนวนของเมล็ดสบู่ดำ


  1. วิทยานิพนธ์ ของ คุณสมพร ช่วยอารีย์ ได้ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่อง “An algorithm for simulation and visualization of plant shoots growth” ขั้นตอนวิธีสำหรับการจำลองและการสร้างภาพนามธรรมของการเจริญเติบโตของลำต้นพืช เป็นการวิจัยในการเจริญเติบโตของพืช ณ เวลาต่างๆโดยใช้ L – Systems ด้วยวิธี Parametric Functional Symbols ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวของการเจริญเติบโตของพืชให้เป็นไปตามธรรมชาติมากขึ้นและ เจริญเติบโตอย่างราบรื่น ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการสร้างต้นไม้ชนิดอื่นๆ ได้ด้วยหลัก ของ Bracketed L-Systems นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543



  1. วิทยานิพนธ์ของ Richard William Bukowski[8,9] ได้พัฒนาระบบ Walkthru Editor เพื่อใช้สำหรับแก้ไขวัตถุ 2 มิติ และ 3 มิติ ในสภาพแวดล้อม 3 มิติ โดยไม่ขึ้นกับโปรแกรมที่สร้างวัตถุและ ระบบ Interactive Walkthrough Environment for simulation เพื่อขยายความสามารถของระบบ “The Berkeley Architectural WALKTHRU System” โดยเพิ่มฐานข้อมูลของวัตถุแบบใหม่และสนับสนุนการจำลองสถานการณ์ของผู้ใช้หลายๆคน และ รองรับการทำงานได้มากขึ้น

  2. วิทยานิพนธ์ของ Hanan, J. เรื่อง “Virtual Plants Integrating architectural and physiological plant models” The Modeling and Simulation Society of Australia, Proceedings of ModSim 95, 1:44-50, 1995


  1. วิทยานิพนธ์เรื่อง Animation of L-system based 3-D Plant Growing in Java Tong Linของ David S. Ebert (Advisor), Assistant Professor of Computer Science Charles Abzug (Reader), Instructor in Computer Science http://www.csee.umbc.edu/~ebert/693/TLin/

ผลของการวิจัยเรื่องนี้ คือ การทำแบบจำลองภาพการเติบโตของต้นไม้ในคอมพิวเตอร์


  1. วิทยานิพนธ์เรื่อง “Interactive Modeling of Plants” ของ Lintermann, B and Deussen, O., IEEE Computer Graphics and Applications, 19(1): 56-65, January 1999


  1. วิทยานิพนธ์ ของ Mitch Allen, Przemyslaw Prusinkiewicz, and Theodore DeJong. เรื่อง“Using L-systems for modeling source-sink interactions, architecture and physiology of growing trees: the L-PEACH model”. New Phytologist 166, pp. 869-880. ผลของการวิจัยเรื่องนี้ ได้ทำแบบจำลองระหว่างการพัฒนาโครงสร้างของต้นไม้ และ แก้ปัญหาความไม่เท่ากันของผลต่างอนุพันธ์ สำหรับการจัดสรรและ การไหลของธาตุคาร์โบไฮเดรต



------------------------------------------------


บทที่ 3

แนวทางการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบ

    1. ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ

วิธีการดำเนินการ เราจะต้องทำการ ศึกษาข้อมูลการปลูกต้นสบู่ดำ และข้อมูลผลผลิตจากประเทศต่างๆนำขั้นตอนการปฏิบัติการปลูกและดูแลรักษาต้นสบู่ดำจาก หนังสือ Joachim Heller. 1996. Physic nut, IPGRI, Rome, Italy. page 36 และ หนังสือพิมพ์มติชน วันที่ 1 ตุลาคม 2548 ปีที่ 18 ฉบับที่ 368 Website http://www.jatrophaworld.org http//www.svlele.com/jatropha_plant.htm


  1. รวบรวมข้อมูลลักษณะการเจริญเติบโตของต้นสบู่ดำ อยู่ในการควบคุมน้ำและปุ๋ย โดยจัดเป็นชุดการทดลองเป็น 5 ชุด โดยมีตัวแปร ตามอัตราส่วน เป็น 5 กรณี ตามตารางนี้ ใช้จำนวนต้นสบู่ดำที่นำมาทดลองทั้งหมด 50 ต้น


ตารางที่ 3.1 ตารางชุดการทดลองทั้ง 5 กรณี โดยควบคุมตัวแปรน้ำ และ ปุ๋ย


  1. ทำการตรวจสอบสภาพดินก่อนทำการนำต้นกล้าไปปลูกในแปลงดิน เมื่ออายุต้นกล้า ได้ 2 เดือน โดยใช้ชุด ตรวจสอบธาตุ อาหารในดิน น้ำ และ ปุ๋ย ของโครงการพัฒนาวิชาการดิน ปุ๋ย และ สิ่งแวดล้อม ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ จึงได้ค่าธาตุอาหาร NPK ตามตารางผลการทดลองดังนี้


ตารางที่ 3.2 ตารางผลการทดลองสภาพของดิน น้ำ และปุ๋ย

หมายเหตุ : ค่าของข้อมูลข้างต้นได้มาจากนำมาเปรียบเทียบค่าที่ได้จากการทดลอง


ตารางที่ 3.3 เป็นการทดลองที่หาค่า Nitrate (N)


ตารางที่ 3.4 เป็นการทดลองที่หาค่า Phosphorous (P)


ตารางที่ 3.5 เป็นการทดลองที่หาค่า Potassium (K)


pH (พี เอช) หมายถึง หน่วยวัดค่าความเป็น กรด-ด่าง ซึ่งมีช่วงตั้งแต่ 0-14 เช่น ถ้าความเป็นกรดในอาหารสูงมาก ค่า pH = 0 แต่ถ้าความเป็นด่างสูงมาก ค่า pH = 14 หรือ ถ้าเป็นกลาง ไม่เป็นกรดไม่เป็นด่างจะมี ค่า pH = 7 เราจึงนำ ดิน ปุ๋ย และ น้ำ มาทดสอบค่า pH เพื่อไว้เป็นข้อมูลในการสังเกตการทดลอง

ที่มา : หนังสือ "สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน" เล่ม ๑๙ หน้า ๑๐๙ โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



รูปที่ 3.1 รูปแสดงการเปรียบเทียบค่า pH ของ ดิน น้ำ และ ปุ๋ย


  1. เราจึงได้วัดค่าเฉลี่ยในการเจริญเติบโตของต้นกล้า ของสบู่ดำทั้งหมด 50 ต้น การนำต้นกล้านำลงปลูกในพื้นที่ ที่กำหนดไว้ โดยใส่ปุ๋ยที่ก้นหลุมในปริมาณที่เท่ากัน และ สภาพดินที่ถูกปรับสภาพเรียบร้อยแล้วได้ค่าตามข้อมูลดังกล่าวข้างต้น


    1. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย


ฮาร์ดแวร์

  • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ AVIC LAB

  • RAM 512MB

  • HDD 20 GB ขึ้นไป

  • PC Pentium 4.0

  • Mouse/Keyboard

  • Modem

  • Camera

  • อุปกรณ์ตรวจสภาพดิน, น้ำ, ปุ๋ย ของโครงการพัฒนาวิชาการดิน-ปุ๋ย และสิ่งแวดล้อม ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • สายวัด

  • ไม้บรรทัด วัดองศา


ซอฟต์แวร์

  • โปรแกรมออกแบบ 3D Animation

  • โปรแกรมแสดงภาพ 3 มิติ Wild Tangent Web Media Viewer 3D Animation

  • Microsoft Windows XP professional

  • โปรแกรมตกแต่งภาพ Adobe Photoshop CS Tools

  • Microsoft Access 2003

  • L-System

  • Microsoft Internet Explorer ใช้ในการค้นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต

  • VR plant

  • Matlab


    1. ระยะเวลาในการดำเนินงาน


เริ่มการศึกษาและทดลองการทำวิจัยในการปลูกต้นสบู่ดำ เพื่อให้ได้ผลการเจริญเติบโต ตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน 2549 ถึง 31 สิงหาคม 2550 ตามตารางดังนี้


ตารางที่ 3.6 ตารางแสดงระยะเวลาการดำเนินงาน

    1. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ


  1. วิเคราะห์ถึงสภาพการเจริญเติบโตตั้งแต่ เพาะเมล็ดให้กลายเป็นต้นกล้า จนกระทั่งถึงต้นสบู่ดำออกเมล็ด จากนั้น เราจะ นำข้อมูลที่ได้ มาศึกษาและวางแผนในการสร้างรูปแบบจำลองการเจริญเติบโตของต้นสบู่ดำ ซึ่งมี 2 ตัวแปรเป็นปัจจัยหลักที่ผลต่อการเจริญเติบโตของต้นสบู่ดำนี้มาใช้ในการตั้งค่าและเงื่อนไขของการจำลองการเจริญเติบโตของต้นสบู่ดำให้เสมือนจริง

  2. ทำการออกแบบจำลองของการปลูกต้นสบู่ดำที่มีความสัมพันธ์ 2 ตัวแปร คือ น้ำ และ ปุ๋ย

  3. เพื่อความเสมือนจริงของการเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมตัวแปรสองตัวแปรเราจึงได้นำเทคโนโลยีของ Software Plant VR มาทำการสร้างแบบจำลอง ซึ่งเราต้องหาค่า Angle, Diameter, Axiom และค่าอื่นๆ ที่เกี่ยวกับส่วนประกอบของต้นสบู่ดำทั้งหมดมาทำการออกแบบ


รูปที่ 3.2 รูปแสดงการทำงานของโปรแกรม Plant VR (ต่อ)


รูปที่ 3.3 รูปแสดงการทำงานของโปรแกรม Plant VR (ต่อ)


รูปที่ 3.4 รูปแสดงการทำงานของโปรแกรม Plant VR



----------------------------------------------

บรรณานุกรม

[1] Mitch Allen, Przemyslaw Prusinkiewicz, and Theodore DeJong. Using L-systems for modeling source-sink interactions, architecture and physiology of growing trees: the L-PEACH model. New Phytologist 166, pp. 869-880.


[2] Available http://algorithmicbotany.org/papers/


[3] L-systems were introduced and developed in 1968 by the Hungarian theoretical biologist and botanist from the University of Utrecht, Aristid Lindenmayer (1925-1989).


[4] Available http://www.jatrophaworld.org/15.html


[5] ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดชัยนาท หมู่ 4 .เขาท่าพระ อ.เมือง จ.ชัยนาท 17000. (http://aopdm01.doae.go.th/data/physicnut21.htm)


[6] ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก.(http://aopdm02.doae.go.th/black%20oil%201.htm)


[7] ศิษฏพงษ์ รัตนกิจ. 2548. สบู่ดำ. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 14 มิถุนายน 2548. 4 หน้า.


[8] นิรนาม. 2548. ส่วนส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กทม. 10900.


[9] นิรนาม. 2548 เอกสารประกอบการสัมมนาระดมความคิด เรื่อง พืชพลังงานที่มีศักยภาพ หน้า 116-129 เรื่องสบู่ดำ โดย รศ. ดร. สมบัติ ชิณะวงศ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2548.


[10] นิรนาม. 2548. เอกสารประกอบการประชุม การสร้างเครือข่ายผู้ปลูก ผู้ค้า และนักวิชาการเพื่อการพัฒนาพืชน้ำมันสบู่ดำอย่างยั่งยืน โดย สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติร่วมกับสภาอุสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 25 เมษายน 2548.


[11] Joachim Heller. 1996. Physic nut, IPGRI, Rome, Italy. 66 pp.


[12] Satish Lele. 2005. The Cultivation of Jatropha curcas. http//www.svlele.com/jatropha_plant.htm


[13] Anon. 2005. Economic of Jatropha Cultivation, http://www.jatrophaworld.org/15.html


[14] วิทยานิพนธ์ ของ คุณสมพร ช่วยอารีย์ ได้ทำวิจัยเกี่ยวกับเรื่อง An algorithm for simulation and visualization of plant shoots growth, ขั้นตอนวิธีสำหรับการจำลองและการสร้างภาพนามธรรมของการเจริญเติบโตของลำต้นพืช นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2543


[15] วิทยานิพนธ์ของ Hanan, J. เรื่อง Virtual Plants Integrating architectural and physiological plant models, The Modeling and Simulation Society of Australia, Proceedings of ModSim 95, 1:44-50, 1995


[16] วิทยานิพนธ์เรื่อง Animation of L-system based 3-D Plant Growing in Java Tong Linของ David S. Ebert (Advisor), Assistant Professor of Computer Science Charles Abzug (Reader), Instructor in Computer Science http://www.csee.umbc.edu/~ebert/693/TLin/


[17] วิทยานิพนธ์เรื่อง Interactive Modeling of Plants ของ Lintermann, B and Deussen, O., IEEE Computer Graphics and Applications, 19(1): 56-65, January 1999


[18] Available http://en.wikipedia.org/wiki/L-system